รายงานวิเคราะห์พฤติกรรมการแข่งขันในกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการที่เกี่ยวข้อง Q3/2022

การเรียบเรียงบรรทึกประสบการณ์ส่วนหนึ่งในระหว่างสองสัปดาห์ ของการเข้าร่วมประชุมระดับนานาชาติด้านการสื่อสารดิจิทัล ณ มหาวิทยาลัยโซกัง (Sogang University) ประกอบกับการศึกษาดูงานกิจการสถานีโทรทัศน์ อุตสาหกรรมสื่อสร้างสรรค์ การนจัดแสดงนวัตกรรมสื่อสารดิจิทัล พิพิธภัณฑสถานและแกลเลอรี่ศิลปวัฒนธรรมแห่งชาติ

การเปรียบเทียบให้เห็นได้อย่างเข้าใจง่าย ถึงประเด็นการกำกับดูแลกิจการโทรทัศน์ไทย กับ แพลทฟอร์ม OTT

คอนเทนต์ที่ถ่ายทอดผ่านโทรทัศน์สะท้อนให้เห็นถึงสภาพสังคม วัฒนธรรม การเมือง การปกครอง และความเป็นอยู่ของผู้คนในแต่ละยุุคสมัยรายการทางโทรทัศน์ของไทยเองก็ได้พัฒนาและก้าวไปตามทิศทางของการเปลี่ยนแปลงในแต่ละช่วงเวลา ซึ่งนับจากยุคแอนะล็อกจนถึงดิจิทัล เทคโนโลยี ได้ก้าวเข้ามามีบทบาทมากขึ้นในการพัฒนาช่องทางการรับชมเนื้อหารายการ จนทำให้ผู้ชมสามารถรับชมคอนเทนต์ได้ในหลากหลายช่องทาง

ในปี 2557 สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการ โทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ได้เปิดประมููลใบอนุุญาตในการใช้คลื่นความถี่เพื่อให้บริการโทรทัศน์ในระบบดิจิทัล โดยมีผู้ชนะการประมููลช่องประเภทธุุรกิจจำนวน 24 ช่อง แบ่งประเภทช่องที่ประมููล เป็น 4 หมวดหมู่ ได้แก่ หมวดเด็กเยาวชน และครอบครัว จำนวน 3 ช่่อง หมวดข่าวสารสาระ จำนวน 7 ช่อง หมวดทั่วไปแบบความคมชัดปกติ (SD) จำนวน 7 ช่อง และหมวดทั่วไปแบบความคมชัดสููง(HD) จำนวน 7 ช่อง นอกจากนี้แล้วยังมีหมวดช่องสาธารณะจำนวน 4 ช่อง ดังนั้น ในช่วงแรกของยุุคโทรทัศน์ในระบบดิจิทัลนั้น มีจำนวนช่องที่นำเสนอเนื้อหาทั้งหมด 28 ช่่อง

เนื่องจากพฤติกรรมของผู้บริโภคในสังคมยุคดิจิทัลปัจจุบัน มีแนวโน้มเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ผู้บริโภค สามารถเลือกรับชมเนื้อหารายการผ่านแพลตฟอร์มที่หลากหลายขึ้น โดยใช้อุปกรณ์อื่นๆ นอกเหนือจากโทรทัศน์ ไม่ว่าจะเป็นการรับชมผ่านทางโทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต

ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของผู้บริโภคในการเลือกชมรายการโทรทัศน์ หรือสื่อต่างๆผ่านแพลตฟอร์ม OTT มากยิ่งขึ้น ทำให้ภูมิทัศน์สื่อเริ่มเปลียนแปลงไป มาฟังการให้สัมภาษณ์มุมมองของอุตสาหกรรม ว่ากำลังจะเดินไปทางใด หรือจะสร้างสมดุลย์ เกี่ยวกับเรื่องนี้อย่างไร โดย นายเดียว วรตั้งตระกูล เลขานุการ สมาคมฯ และประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการช่องวัน สามสิบเอ็ด

ครึ่งทางทีวีดิจิทัล กับภารกิจของกสทช. ผ่านมุมมอง ศ.ดร.พิรงรอง รามสูต

จากปัญหาที่เกิดขึ้นดังกล่าว ทำให้ผู้ประกอบการแต่ละช่องต้องออกมาปรับแผนจัดกระบวนทัพกันใหม่ เพราะนอกจากต้องสู้กับข้าศึกในสมรภูมิเดียวกันแล้ว ยังต้องสู้กับคู่แข่งนอกสมรภูมิอีกด้วย

ช่องวัน31, จีเอ็มเอ็ม 25 ชูจุดแข็ง Content creator ปูพรมCross Platform บุกต่างแดน พร้อมปักธง ก้าวสู่ความเป็น 1 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นในช่วง 5-6 ปีที่ผ่านมา ทำให้หลายธุรกิจถูกดิสรัปโดยเฉพาะธุรกิจสื่อ เนื่องจากพฤติกรรมการเสพสื่อของผู้บริโภคมีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมอย่างเห็นได้ชัด ผู้ประกอบการจึงต้องปรับตัวเชื่อมต่อระหว่างสื่อหลักกับสื่อสมัย เพื่อเข้าถึงกลุ่มผู้ชมทุกช่องทาง

TNN 16- ทรูโฟร์ยู ช่อง 24 ตอกย้ำจุดยืนก้าวสู่ผู้นำทีวีดิจิทัลเมืองไทย สถานีข่าว TNN มุ่งมั่นที่จะพัฒนาข่าวให้ "ทันโลก ทันเศรษฐกิจ ทันทุกความจริง" ยืนหยัดเคียงข้างเพื่อสังคมไทย ทำหน้าที่สื่อมวลชลที่เป็นกลางและใช้จริยธรรมในการนำเสนอข่าวมา โดยตลอด ด้วยปณิธานที่ต้องการช่วยพัฒนาและนำพาสังคมไทยไปสู่สังคมคุณภาพที่ยั่งยืน

ปัญหาที่เกิดขึ้นกับผู้ประกอบการทีวีดิจทัลในขณะนี้คือ การมีตลาดสตรีมมิ่งมาแย่งคนดูไป ทำให้โจทย์ที่เราต้องกลับมาปรับแผนว่าทำอย่างไรถึงจะแย่งคนดูกลับมาได้ /อดิศักดิ์ ลิมปรุ่งพัฒนกิจ

ฉากทัศน์โทรทัศน์ไทย 2566-2572 - Thai Television Scenarios 2023-2029 โดย ดร.สิขเรศ ศิรากานต์

ช่อง 3 ประกาศกร้าวนั่งอันดับ 1 ผู้ผลิตคอนเทนต์ในไทย สุรินทร์ กฤตยาพงศ์พันธุ์ กรรมการผู้อำนวยการสายธุรกิจโทรทัศน์ บริษัท บีอีซี เวิลด์ จำกัด (มหาชน)

OTT TV จะมาแทนที่กิจการโทรทัศน์แบบเดิมในประเทศไทยหรือไม่? จากที่กล่าวมาข้างต้น OTT TV สามารถตอบสนองพฤติกรรมของผู้บริโภคยุคใหม่และสร้างความพึงพอใจให้กับผู้บริโภคได้มาก ทั้งในรูปแบบของเวลา สถานที่ ข้อผูกมัดและราคาที่น้อยกว่าการชมวิดีโอและโทรทัศน์แบบทั่วไป

Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้