สาระสมาคมโทรทัศน์ระบบดิจิตอล

โดย ดร.วิชนี ศรีสวัสดิ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มโทรทัศน์ บริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนต์ จำกัด (มหาชน)

วัน เอ็นเตอร์ไพรส์ ชู Thai Flavor To The World ปั้นคอนเทนต์ไทยสู่ตลาดโลก โดยนิพนธ์ ผิวเณร ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายผลิตละคร บริษัท เดอะ วัน เอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด (มหาชน)

หนังสือที่จะรวบรวมองค์ความรู้และประสบการณ์จากผู้ผลิตชั้นนำระดับประเทศ เช่น การผลิตคอนเทนต์ผ่านซอฟต์พาวเวอร์

ร่วมสัมมนาโดยนายมงคล วัตตะโร ผู้อำนวยการกองเผยแพร่โฆษณาในประเทศ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย และนายนเรศ หาญพันธ์พงษ์ รองผู้จัดการฝ่ายผลิตรายการ บริษัท อมรินทร์ เทเลวิชั่น จำกัด และ โปรดิวเซอร์ รายการกินไปทั่ว มั่วบ้านงาน

Half Year Media Industry Update by MAAT

สาร จากนายกสมาคมโทรทัศน์ระบบดิจิตอล (ประเทศไทย) นายสุภาพ คลี่ขจาย

Soft Power (อำนาจละมุน) ความสามารถในการชักจูงใจ ทำให้ผู้อื่นมีความพึงพอใจหรือเต็มใจเปลี่ยนพฤติกรรม ยอมรับ คล้อยตามสิ่งที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้อำนาจ โดยกลไกหลักที่สำคัญในการใช้ Soft Power คือ การสร้างความดึงดูดใจต่อผู้อื่น

PDPA สำหรับผู้ประกอบกิจการโทรทัศน์

จับทิศทางข่าว เศรษฐกิจ การเมืองไทย ผ่านมุมมอง "หนุ่ม กรรชัย กำเนิดพลอย"

การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและพฤติกรรมผู้บริโโภคที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง เป็นสิ่งที่อุตสาหกรรมโทรทัศน์ดิจิทัลในประเทศไทยต้องปรับตัวอย่างรวดเร็ว เพื่อเท่าทันการรองรับความต้องการผู้ชม

ตลอดระยะเวลา 9 ปี ของสถานีโทรทัศน์ PPTV 36 น้องใหม่ในวงการโทรทัศน์ ที่ไม่เคยทำสื่อมาก่อน ต้องเผชิญกับสถานการณ์การแข่งขันและเป็นช่วงเปลี่ยนผ่านของเทคโนโลยี ที่ทำให้ทีวีทุกช่องต้องเผชิญกับความท้าทายที่ยากขึ้น ด้วยเจตนารมย์ในการก่อตั้งสถานีโทรทัศน์ PPTV ที่มุ่งนำเสนอเนื้อหาสาระที่เป็นประโยชน์และสร้างสรรค์สังคม PPTV จึงยังยึดมั่นแนวทางที่วางไว้ ภายใต้คอนเซ็ปต์ PPTV 36 ยึดมั่นแนวทาง ครบทุกข่าวเข้าใจคอกีฬา

ผ่าทางรอดทีวีดิจิทัล เปลี่ยนสู่การตลาดแบบ Customized ชาคริต ดิเรกวัฒนชัย เลขานุการสมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย

Amarin TV ชูแนวคิด "Sustainable Route" มุ่งสร้างสังคมแห่งการแบ่งปัน

สู่เจ้าตลาดคอนเทนต์ที่ครบรสบันเทิง แบบ ALL-IN 23

MONO 29 เสริมคอนเทนต์ ทัพหนัง-ซีรีส์ ล้นจอ บรรณสิทธิ์ รักวงษ์ เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ โมโน เน็กซ์ จำกัด (มหาชน)

ช่อง 3 ประกาศกร้าวนั่งอันดับ 1 ผู้ผลิตคอนเทนต์ในไทย สุรินทร์ กฤตยาพงศ์พันธุ์ กรรมการผู้อำนวยการสายธุรกิจโทรทัศน์ บริษัท บีอีซี เวิลด์ จำกัด (มหาชน)

ฉากทัศน์โทรทัศน์ไทย 2566-2572 Thai Television Ecenarios 2023-2029 โดย ดร.สิขเรศ ศิรากานต์

TNN 16- ทรูโฟร์ยู ช่อง 24 ตอกย้ำจุดยืนก้าวสู่ผู้นำทีวีดิจิทัลเมืองไทย สถานีข่าว TNN มุ่งมั่นที่จะพัฒนาข่าวให้ "ทันโลก ทันเศรษฐกิจ ทันทุกความจริง" ยืนหยัดเคียงข้างเพื่อสังคมไทย ทำหน้าที่สื่อมวลชลที่เป็นกลางและใช้จริยธรรมในการนำเสนอข่าวมา โดยตลอด ด้วยปณิธานที่ต้องการช่วยพัฒนาและนำพาสังคมไทยไปสู่สังคมคุณภาพที่ยั่งยืน

ปัญหาที่เกิดขึ้นกับผู้ประกอบการทีวีดิจทัลในขณะนี้คือ การมีตลาดสตรีมมิ่งมาแย่งคนดูไป ทำให้โจทย์ที่เราต้องกลับมาปรับแผนว่าทำอย่างไรถึงจะแย่งคนดูกลับมาได้ อดิศักดิ์ ลิมปรุ่งพัฒนกิจ

จากปัญหาที่เกิดขึ้นดังกล่าว ทำให้ผู้ประกอบการแต่ละช่องต้องออกมาปรับแผนจัดกระบวนทัพกันใหม่ เพราะนอกจากต้องสู้กับข้าศึกในสมรภูมิเดียวกันแล้ว ยังต้องสู้กับคู่แข่งนอกสมรภูมิอีกด้วย

ช่องวัน31 ชูจุดแข็ง Content creator ปูพรมบุกต่างแดน พร้อมปักธง The best ยืน 1 ตลาดไทย การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นในช่วง 5-6 ปีที่ผ่านมา ทำให้หลายธุรกิจถูกดิสรัปโดยเฉพาะธุรกิจสื่อ เนื่องจากพฤติกรรมการเสพสื่อของผู้บริโภคมีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมอย่างเห็นได้ชัด ผู้ประกอบการจึงต้องปรับตัวเชื่อมต่อระหว่างสื่อหลักกับสื่อสมัย เพื่อเข้าถึงกลุ่มผู้ชมทุกช่องทาง

ครึ่งทางทีวีดิจิทัล กับภารกิจของกสทช. ผ่านมุมมอง ศ.ดร.พิรงรอง รามสูต

เตรียมพบกับ หนังสือครึ่งทางทีวีดิจิทัล สู่สมรภูมิแข่งเดือดข้ามแพลตฟอร์ม 10 พฤษภาคมนี้

ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของผู้บริโภคในการเลือกชมรายการโทรทัศน์ หรือสื่อต่างๆผ่านแพลตฟอร์ม OTT มากยิ่งขึ้น ทำให้ภูมิทัศน์สื่อเริ่มเปลี่ายนแปลงไป มาฟังการให้สัมภาษณ์มุมมองของอุตสาหกรรม ว่ากำลังจะเดินไปทางใด หรือจะสร้างสมดุลย์ เกี่ยวกับเรื่องนี้อย่างไร โดย นายเดียว วรตั้งตระกูล เลขานุการ สมาคมฯ และประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการช่องวัน สามสิบเอ็ด

TT TV จะมาแทนที่กิจการโทรทัศน์แบบเดิมในประเทศไทยหรือไม่? จากที่กล่าวมาข้างต้น OTT TV สามารถตอบสนองพฤติกรรมของผู้บริโภคยุคใหม่และสร้างความพึงพอใจให้กับผู้บริโภคได้มาก ทั้งในรูปแบบของเวลา สถานที่ ข้อผูกมัดและราคาที่น้อยกว่าการชมวิดีโอและโทรทัศน์แบบทั่วไป

Thailand Media Landscape and Trend Update โดยสมาคมมีเดียเยนซี่ และธุรกิจสื่อประเทศไทย

รายงานวิเคราะห์พฤติกรรมการแข่งขันในกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการที่เกี่ยวข้อง Q3/2022

การเปรียบเทียบให้เห็นได้อย่างเข้าใจง่าย ถึงประเด็นการกำกับดูแลกิจการโทรทัศน์ไทย กับ แพลทฟอร์ม OTT

ในปี 2557 สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการ โทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ได้เปิดประมููลใบอนุุญาตในการใช้คลื่นความถี่เพื่อให้บริการโทรทัศน์ในระบบดิจิทัล โดยมีผู้ชนะการประมููลช่องประเภทธุุรกิจจำนวน 24 ช่อง แบ่งประเภทช่องที่ประมููล เป็น 4 หมวดหมู่ ได้แก่ หมวดเด็กเยาวชน และครอบครัว จำนวน 3 ช่่อง หมวดข่าวสารสาระ จำนวน 7 ช่อง หมวดทั่วไปแบบความคมชัดปกติ (SD) จำนวน 7 ช่อง และหมวดทั่วไปแบบความคมชัดสููง(HD) จำนวน 7 ช่อง นอกจากนี้แล้วยังมีหมวดช่องสาธารณะจำนวน 4 ช่อง ดังนั้น ในช่วงแรกของยุุคโทรทัศน์ในระบบดิจิทัลนั้น มีจำนวนช่องที่นำเสนอเนื้อหาทั้งหมด 28 ช่่อง

คอนเทนต์ที่ถ่ายทอดผ่านโทรทัศน์สะท้อนให้เห็นถึงสภาพสังคม วัฒนธรรม การเมือง การปกครอง และความเป็นอยู่ของผู้คนในแต่ละยุุคสมัยรายการทางโทรทัศน์ของไทยเองก็ได้พัฒนาและก้าวไปตามทิศทางของการเปลี่ยนแปลงในแต่ละช่วงเวลา ซึ่งนับจากยุคแอนะล็อกจนถึงดิจิทัล เทคโนโลยี ได้ก้าวเข้ามามีบทบาทมากขึ้นในการพัฒนาช่องทางการรับชมเนื้อหารายการ จนทำให้ผู้ชมสามารถรับชมคอนเทนต์ได้ในหลากหลายช่องทาง

Powered by MakeWebEasy.com