5 ต.ค. 2567
กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ผลักดันการสร้างคอนเทนต์อย่างเท่าเทียม ตอบโจทย์ซอฟต์พาวเวอร์ไทย โดย ดร.ธนกร ศรีสุขใส ผู้จัดการกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์
29 ก.ย. 2567
สร้างแบรนด์คอนเทนต์ไทยให้ถึง ซอฟต์พาวเวอร์ (อำนาจละมุน)ที่ต้องมาพร้อมความรับผิดชอบ โดย กิตติพงษ์ วีระเตชะ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มด้านการตลาดและนวัตกรรม กลุ่มบริษัท เดนท์สุ โฮลดิ้งส์ (ประเทศไทย)
26 ก.ย. 2567
สารแสดงความยินดี เนื่องในโอกาสครบรอบ 1 ทศวรรษทีวีดิจิทัล จากศาสตราจารย์คลินิก นพ.สรณ บุญใบชัยพฤกษ์
25 ก.ย. 2567
70 ปีทีวีไทย สู่ทีวีดิจิทัล และอนาคต โดย เขมทัตต์ พลเดชนายกสมาพันธ์สมาคมวิชาชีพวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ (RTBPF )
18 ก.ย. 2567
CEA วางยุทธศาสตร์คอนเทนต์สร้างสรรค์ พร้อมเกื้อหนุนเศรษฐกิจไทย โดย ดร.ชาคริต พิชญางกูร ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ หรือ CEA
18 ก.ย. 2567
การส่งออกคอนเทนต์สู่ตลาดโลก ผ่านมุมมอง สมรักษ์ ณรงค์วิชัย
15 ก.ย. 2567
โดย ดร.วิชนี ศรีสวัสดิ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มโทรทัศน์ บริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนต์ จำกัด (มหาชน)
15 ก.ย. 2567
วัน เอ็นเตอร์ไพรส์ ชู Thai Flavor To The World ปั้นคอนเทนต์ไทยสู่ตลาดโลก โดยนิพนธ์ ผิวเณร ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายผลิตละคร บริษัท เดอะ วัน เอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด (มหาชน)
1 ก.ย. 2567
หนึ่งทศวรรษทีวีดิจิตอล ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.พิรงรอง รามสูต กรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ด้านกิจการโทรทัศน์
1 ก.ย. 2567
ยุทธศาสตร์ซอฟต์พาวเวอร์เแห่งชาติ ก้าวย่างแห่งอนาคตคอนเทนต์ไทย : แพทองธาร ชินวัตร อดีตประธานคณะกรรมการยุทธศาสตร์ซอฟต์พาวเวอร์แห่งชาติ
30 ส.ค. 2567
หนังสือที่จะรวบรวมองค์ความรู้และประสบการณ์จากผู้ผลิตชั้นนำระดับประเทศ เช่น การผลิตคอนเทนต์ผ่านซอฟต์พาวเวอร์
5 พ.ย. 2566
Half Year Media Industry Update by MAAT
5 มิ.ย. 2566
Soft Power (อำนาจละมุน) ความสามารถในการชักจูงใจ ทำให้ผู้อื่นมีความพึงพอใจหรือเต็มใจเปลี่ยนพฤติกรรม ยอมรับ คล้อยตามสิ่งที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้อำนาจ โดยกลไกหลักที่สำคัญในการใช้ Soft Power คือ การสร้างความดึงดูดใจต่อผู้อื่น
20 พ.ค. 2566
จับทิศทางข่าว เศรษฐกิจ การเมืองไทย ผ่านมุมมอง "หนุ่ม กรรชัย กำเนิดพลอย"
15 พ.ค. 2566
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและพฤติกรรมผู้บริโโภคที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง เป็นสิ่งที่อุตสาหกรรมโทรทัศน์ดิจิทัลในประเทศไทยต้องปรับตัวอย่างรวดเร็ว เพื่อเท่าทันการรองรับความต้องการผู้ชม
15 พ.ค. 2566
ตลอดระยะเวลา 9 ปี ของสถานีโทรทัศน์ PPTV 36 น้องใหม่ในวงการโทรทัศน์ ที่ไม่เคยทำสื่อมาก่อน ต้องเผชิญกับสถานการณ์การแข่งขันและเป็นช่วงเปลี่ยนผ่านของเทคโนโลยี ที่ทำให้ทีวีทุกช่องต้องเผชิญกับความท้าทายที่ยากขึ้น ด้วยเจตนารมย์ในการก่อตั้งสถานีโทรทัศน์ PPTV ที่มุ่งนำเสนอเนื้อหาสาระที่เป็นประโยชน์และสร้างสรรค์สังคม PPTV จึงยังยึดมั่นแนวทางที่วางไว้ ภายใต้คอนเซ็ปต์ PPTV 36 ยึดมั่นแนวทาง ครบทุกข่าวเข้าใจคอกีฬา
15 พ.ค. 2566
ผ่าทางรอดทีวีดิจิทัล เปลี่ยนสู่การตลาดแบบ Customized ชาคริต ดิเรกวัฒนชัย เลขานุการสมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย
15 พ.ค. 2566
"เราต้องการเป็นองค์กรแห่งความภูมิใจ ที่เป็นที่ยอมรับ และไว้วางใจของสังคม ในการนำเสนอข้อมูล ข่าวสาร ข้อเท็จจริงอย่างเหมาะสมเป็นกลาง รวมทั้งสาระ ความบันเทิงที่มีคุณภาพ เพื่อความสุขและความรุ่งโรจน์ของสังคม ซึ่งเป็นไปตาม Motto ของกลุ่มบริษัทอมรินทร์ ที่คุณชูเกียรติ อทกะพันธุ์ ผู้ก่อตั้งกลุ่มบริษัทอมรินทร์ได้วางไว้" Amarin TV ชูแนวคิด "Sustainable Route" มุ่งสร้างสังคมแห่งการแบ่งปัน
15 พ.ค. 2566
จากจุดเล็กๆ กว่า 33 ปีที่ผ่านมา ช่องเวิร์คพอยท์ 23 ได้เดินหน้าส่งมอบความสุขให้กับผู้ชชม แก่การเป็นผู้ผลิตคอนเทนต์ที่โดดเด่นด้วยความคิดสร้างสรรค์และแตกกต่างจนปัจจุบัน ช่อง เวิร์คพอยท์ 23 ได้ก้าวขึ้นเป็นสถานีโทรทัศน์ขวัญใจชาวไทยระดับต้นๆขชองประเทศ ทั้งยังสร้างชื่อเสียงไม่เพียงแค่ในเอเชีย แต่ยังสร้างความภูมิใจไปยังต่างประเทศทั่วโลกอีกด้วย สู่เจ้าตลาดคอนเทนต์ที่ครบรสบันเทิง แบบ ALL-IN 23
15 พ.ค. 2566
MONO 29 เสริมคอนเทนต์ ทัพหนัง-ซีรีส์ ล้นจอ บรรณสิทธิ์ รักวงษ์ เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ โมโน เน็กซ์ จำกัด (มหาชน)
13 พ.ค. 2566
ช่อง 3 ประกาศกร้าวนั่งอันดับ 1 ผู้ผลิตคอนเทนต์ในไทย สุรินทร์ กฤตยาพงศ์พันธุ์ กรรมการผู้อำนวยการสายธุรกิจโทรทัศน์ บริษัท บีอีซี เวิลด์ จำกัด (มหาชน)
11 พ.ค. 2566
ฉากทัศน์โทรทัศน์ไทย 2566-2572 - Thai Television Scenarios 2023-2029 โดย ดร.สิขเรศ ศิรากานต์
11 พ.ค. 2566
TNN 16- ทรูโฟร์ยู ช่อง 24 ตอกย้ำจุดยืนก้าวสู่ผู้นำทีวีดิจิทัลเมืองไทย สถานีข่าว TNN มุ่งมั่นที่จะพัฒนาข่าวให้ "ทันโลก ทันเศรษฐกิจ ทันทุกความจริง" ยืนหยัดเคียงข้างเพื่อสังคมไทย ทำหน้าที่สื่อมวลชลที่เป็นกลางและใช้จริยธรรมในการนำเสนอข่าวมา โดยตลอด ด้วยปณิธานที่ต้องการช่วยพัฒนาและนำพาสังคมไทยไปสู่สังคมคุณภาพที่ยั่งยืน
10 พ.ค. 2566
ปัญหาที่เกิดขึ้นกับผู้ประกอบการทีวีดิจทัลในขณะนี้คือ การมีตลาดสตรีมมิ่งมาแย่งคนดูไป ทำให้โจทย์ที่เราต้องกลับมาปรับแผนว่าทำอย่างไรถึงจะแย่งคนดูกลับมาได้ /อดิศักดิ์ ลิมปรุ่งพัฒนกิจ
10 พ.ค. 2566
จากปัญหาที่เกิดขึ้นดังกล่าว ทำให้ผู้ประกอบการแต่ละช่องต้องออกมาปรับแผนจัดกระบวนทัพกันใหม่ เพราะนอกจากต้องสู้กับข้าศึกในสมรภูมิเดียวกันแล้ว ยังต้องสู้กับคู่แข่งนอกสมรภูมิอีกด้วย
10 พ.ค. 2566
ช่องวัน31, จีเอ็มเอ็ม 25 ชูจุดแข็ง Content creator ปูพรมCross Platform บุกต่างแดน พร้อมปักธง ก้าวสู่ความเป็น 1 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นในช่วง 5-6 ปีที่ผ่านมา ทำให้หลายธุรกิจถูกดิสรัปโดยเฉพาะธุรกิจสื่อ เนื่องจากพฤติกรรมการเสพสื่อของผู้บริโภคมีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมอย่างเห็นได้ชัด ผู้ประกอบการจึงต้องปรับตัวเชื่อมต่อระหว่างสื่อหลักกับสื่อสมัย เพื่อเข้าถึงกลุ่มผู้ชมทุกช่องทาง
10 พ.ค. 2566
ครึ่งทางทีวีดิจิทัล กับภารกิจของกสทช. ผ่านมุมมอง ศ.ดร.พิรงรอง รามสูต
30 เม.ย 2566
หนังสือ ครึ่งทางทีวีดิจิทัล สู่สมรภูมิแข่งเดือดข้ามแพลตฟอร์ม โดย สมาคมโทรทัศน์ระบบดิจิตอล ประะเทศไทย
18 ธ.ค. 2565
ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของผู้บริโภคในการเลือกชมรายการโทรทัศน์ หรือสื่อต่างๆผ่านแพลตฟอร์ม OTT มากยิ่งขึ้น ทำให้ภูมิทัศน์สื่อเริ่มเปลียนแปลงไป มาฟังการให้สัมภาษณ์มุมมองของอุตสาหกรรม ว่ากำลังจะเดินไปทางใด หรือจะสร้างสมดุลย์ เกี่ยวกับเรื่องนี้อย่างไร โดย นายเดียว วรตั้งตระกูล เลขานุการ สมาคมฯ และประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการช่องวัน สามสิบเอ็ด